20​ พฤษภาคม​2566​ กิจกรรม​การนำเสนอและแลกเปลี่ยน​การเรียน​รู้​ (Show &​Share)​

กิจกรรม​การนำเสนอและแลกเปลี่ยน​เรียนรู้​(Show​ &​ Share)​
เมื่อวันเสาร์​ที่​ 20​ พฤษภาคม​ พ.ศ.​2566

"การพัฒนา​สมรรถนะ​การจัดการเรียนรู้แนวใหม่ที่สอดรับวิสัยทัศน์​และพันธกิจ
ของโรงเรียนในพื้นที่นวัตกรรม​การศึกษา​สังกัดองค์การบริหาร​ส่วนจังหวัด​เชียงใหม่"

ณ​ ห้องประชุม​ 40 ปี​ คณะศึกษาศาสตร์​ มหาวิทยาลัย​เชียงใหม่​



ภาพประกอบ​การอบรมกับรองผู้อำนวยการ​และที่ปรึกษา​โรงเรียน

ภาพประกอบ​การอบรม
ทีมนำเสนอกิจกรรม​การนำเสนอและแลกเปลี่ยน​เรียนรู้
​(Show​ &​ Share)​
โรงเรียน​ต้นแก้วผดุงพิทยาลัย​ องค์การ​บริหาร​ส่วน​จังหวัด​เชียงใหม่​



ภาพประกอบ​การอบรม​
คณะครูโรงเรียน​ต้นแก้วผดุง​พิทยา​ลัย


สิ่งที่ข้าพเจ้าได้เรียน​รู้ในครั้งนี้
จากการนำเสนอของตัวแทนคุณ​ครู​  4​ โรงเรียน
​ในสังกัด​องค์การบริหาร​ส่วน​จังหวัด​เชียงใหม่​

โรงเรียนบ้านแม่งอนขี้เหล็ก

โรงเรียนบ้านศาลา

โรงเรียนแม่อายวิทยาลัย

โรงเรียน​ต้นแก้วผดุง​พิทยา​ลัย


"อะไรที่ยากๆ​ ทีม​ PLC ร่วมออกแบบการสอนให้นักเรียนทุกคน" 

เข้าถึงบทเรียน​ด้วยตนเองและสอนเพื่อนได้อย่างภาคภูมิใจ​
ทำได้​ ทำดี​ มีลีลา​ 
แบบยั่งยืน​ 
เริ่มจากเป็น
เด็กดี​ 😍 เยาวชน​ดี​ 😍 คนดี

การวัดและประเมิน
คำแนะนำจากคณะศึกษาศาสตร์​ มหา​วิทยาลัย​เชียงใหม่​
ทุกชั่วโมง​ ทุกกิจกรรม​ ต้องคิดวิเคราะห์​ตลอดเวลา
"อ่าน​ เขียน​ คิดวิเคราะห์​ สอนต่อ​ ปรับ​"

ระดับห้องเรียน​ ตัวชี้วัด​ เป็นสมรรถนะ​
ใช้ตัวชี้วัด​ เป็นตัวตั้ง​ ออกแบบหน่วยการเรียนรู้​ ไม่ใช้ตำรา

ระดับโรงเรียน​ ทีมวิชาการ​ ช่วงชั้น​ 1​ 
หัวหน้า​ทีมขับเคลื่อน​ฝ่ายงานวิชาการ​โรงเรียน
คุณลักษณะ​อันพึงประสงค์​ ทักษะ​ สมรรถนะ​
ระดับเขตพื้นที่​ RT​  NT
ระดับชาติ​  Onet

ให้นักเรียนฝึกตั้งคำถาม​  อะไร​ ทำไม  อย่างไร

2​ มิติของผู้เรียน
ในห้องเรียน​ เล่าเรื่อง​ นำเสนอ​ 




ตัวอย่าง​ 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ผ่านดนตรี โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน​ นำสู่การเป็นนวัตกร​น้อย
ด้านดนตรีและการแสดงพื้นบ้านล้านนา
ผ่าน
กิจกรรม​พัฒนา​ผู้เรียน​ 
ชุมนุมกลองล้านนา​ : คนกับเจิงดาบไทลื้อ
ฟ้อนเจิงไทลื้อในรูปแบบแนวคิดของตนเอง
โดยนักเรียนถอดบทเรียนที่เรียนรู้ในห้องเรียนภูมิปัญญา​ท้องถิ่น​


ไหว้พระสวดมนต์​ตามแบบฉบับพ่อครูพรชัย​ ตุ้ยดง
ประชมรมคนรักดาบเชียงใหม่​



พิธีรดน้ำดำหัวพ่อครูพรชัย​ ตุ้ยดง
ผู้ถ่ายทอดวิชาความรู้เชิงปฏิบัติการ​ฟ้อนเจิงไทลื้อ
ณ​ โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญา​ล้านนา
นักเรียนที่ผ่านหลักสูตร​ฟ้อนเจิงไทลื้อ
รุ่นที่​ 1/2566
ชมรมคนรักดาบเชียงใหม่
นำเสนอผลงานการฟ้อนเจิงดาบไทลื้อ
ณ​ อนุสาวรีย์​สามกษัตริย์​

น้องวิน​ ช่วงชั้น​ 2​ ชั้น​ ป.4
ฝึกเชิงปฏิบัติ​การฟ้อนเจิงดาบไทลื้อ​  5​ วัน


พี่เอ็ม​ ช่วงชั้น​ 3​ ชั้นมัธยมศึกษา​ปีที่​ 3​
ดนตรีสนใจ​ 4​ เดือน​ สู่​ ดนตรีศึกษา​ 2​ เดือน
ใช้เวลาสร้างนวัตกร​น้อย
ด้านดนตรีและการแสดง​ดนตรีพื้นบ้านล้านนา
6​ เดือนสู่การเรียนรู้​ตลอด​ชีวิต​

พี่อั้ม ช่วงชั้น​ 3​ ชั้นมัธยมศึกษา​ปีที่​ 3​
ดนตรีสนใจ​ 4​ เดือน​ สู่​ ดนตรีศึกษา​ 2​ เดือน
ใช้เวลาสร้างนวัตกร​น้อย
ด้านดนตรีและการแสดง​ดนตรีพื้นบ้านล้านนา
6​ เดือนสู่การเรียนรู้​ตลอด​ชีวิต​

คนกับเจิง​ไทลื้อในชีวิตจริง
คนกับกลองปู่เจ่ในวันสำคัญของ​ล้านนา
วงมินเนี่ย​น​
 โรงเรียนต้นแก้วผดุง​พิทยา​ลัย
ในแบบฉบับของตนเอง​ ผ่านกระบวนการนำเสนอผลงาน
จากสถานที่จริง​ บรรยากาศ​จริง​ รับรางวัลจากการปฏิบัติ​




คนกับเจิง​ไทลื้อในชีวิตจริง
คนกับกลองสะบัดชัยประยุกต์​ในชุมชนบ้านกาด
วงมินเนี่ย​น​
 โรงเรียนต้นแก้วผดุง​พิทยา​ลัย
ในแบบฉบับของตนเอง​ ผ่านกระบวนการนำเสนอผลงาน
จากสถานที่จริง​ บรรยากาศ​จริง​ รับรางวัลจากการปฏิบัติ

สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้
การจัดเวลา​ การซักชุดการแสดง​ การบริหารวงดนตรีล้านนา
ประเภท​ เครื่อง​ตีล้านนา​ : กลองสะบัดชัยประยุกต์​






























ครูเค รักล้านนา

รักอิสระ รักสุขภาพ รักฟ้อนเจิงล้านนา

ใหม่กว่า เก่ากว่า