เว็บไซต์มาตรฐานตำแหน่ง ว PA 2566

ผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ครูผู้สอน

ผลงานตามมาตรฐานตำแหน่ง : ครู

ข้อมูลของผู้รับการประเมิน

ชื่อ – สกุล   นาย วชิระ   ไพยารมณ์   อายุ  43  ปี วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สาขาวิชาเอก ดนตรีศึกษาตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชำนาญการ เงินเดือน  28,660  บาท สอนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-3 วิชา/หน่วยการเรียนรู้ รายวิชาดนตรี , วิทยาการคำนวณ และชุมนุมกลองล้านนา

จำนวนวันลาในรอบการประเมิน  5  วัน ประกอบด้วย

          1) ลาป่วย        จำนวน      5      ครั้ง รวม      5      วัน

          2) ลากิจ          จำนวน      -       ครั้ง รวม      -      วัน

          3) ลาอื่น ๆ (โปรดระบุ)        -      จำนวน       -      ครั้ง      -      วัน


ส่วนที่ 1 การพัฒนางานตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 

1. ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่ (ภาระงาน)

          1.1 ข้อมูลการสอน

                ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565

ที่

ชื่อวิชา

ชั้น

จำนวนห้อง

จำนวนชั่วโมง/สัปดาห์

1

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
รายวิชาดนตรี 1 ศ 11101 (ด)

ป.1

3

3

2

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
รายวิชาดนตรี 1 ศ12101 (ด)

ป.2

3

3

3

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
รายวิชาดนตรี 1 
ศ13101 (ด)

ป.3

3

3

4

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา Coding 1 ว11101 (ท)

ป.1

3

3

5

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา Coding 2 ว12101 (ท)

ป.2

3

3

6

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา Coding 3 ว 13101 (ท)

ป.3

3

3

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและชุมนุม

7

ลูกเสือเนตรนารีสำรองป.3        

ป.3

3

1

8

ชุมนุมกลองล้านนา ป.1 - ป.6

ป.1-ป.6

-

1

9

กิจกรรมส่งเสริมสมรรถนะ

ป.1/5

1

2

รวม

22

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566

ที่

ชื่อวิชา

ชั้น

จำนวนห้อง

จำนวนชั่วโมง/สัปดาห์

1

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
รายวิชาดนตรี 1 ศ11101 (ด)

ป.1

3

3

2

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
รายวิชาดนตรี 1 ศ12101 (ด)

ป.2

3

3

3

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
รายวิชาดนตรี 1 ศ13101 (ด)

ป.3

3

3

4

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา Coding 1 ว11101 (ท)

ป.1

3

3

5

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา Coding 2 ว12101 (ท)

ป.2

3

3

6

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา Coding 3 ว13101 (ท)

ป.3

3

3

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและชุมนุม

7

ชุมนุมกลองล้านนา ป.1 - ป.6

ป.1-ป.6

-

1

รวม

19


1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน     9     ชั่วโมง/สัปดาห์

ประชุมรวมกลุ่ม PLC ช่วงชั้นที่ 1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการประชุมรวมกลุ่มเป็นขั้นตอนแรกที่จะทำในการสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งในการประชุมนี้อาจพูดคุยเรื่องแผนการทำงานและตั้งเป้าหมายเริ่มออกแบบการแก้ปัญหา หลังจากประชุมกลุ่มแล้ว สมาชิกกลุ่มร่วมแก้ปัญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้นในการจัดการเรียนรู้หลังจากแก้ปัญหาแล้วผู้รับการประเมินออกได้แบบบทเรียนใหม่เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์เพื่อดำเนินการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สนับสนุนการเรียนรู้ของนักเรียน เนื่องจากจะช่วยให้นักเรียนทุกคนได้ทดลองฝึกเชิงปฏิบัติตามบทเรียนที่ผู้รับการประเมินได้ออกแบบแผนการสอน เพื่อเตรียมความพร้อมในการสอนตามลักษณะของการทำงาน พร้อมเตรียมสื่อการสอนให้พร้อมสำหรับการสอน ซึ่งการเรียนรู้ถือเป็นส่วนสำคัญของกระบวนการนี้ รวมถึงการเปิดชั้นเรียนเพื่อสอนนักเรียนตามบทเรียนและกิจกรรมที่จัดไว้ หลังจากการสอนแล้ว ผู้ประเมินได้รับคำแนะนำจากผู้บริหารโรงเรียนในการประชุมกลุ่มอีกครั้งเพื่อสะท้อนการสอนและปรับปรุงตามผลการเรียนรู้ของนักเรียน โดยนำผลการสรุปผลและรายงานความคืบหน้าเป็นส่วนสำคัญในการติดตามและปรับปรุงกิจกรรมการเรียนรู้

การขับเคลื่อน PLC สู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษา  ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565

ประเด็นการในพัฒนา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565

  • การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ โดยผสมผสานแนวคิดบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ WebQuest และห้องเรียนกลับด้าน Flipped Classroom เพื่อพัฒนาสมรรถนะทักษะการคิดชั้นสูง และนวัตกรรมผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 2
  • ในบทเรียนภาคเรียนที่ 2/2565 ใช้แนวคิดบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ (WebQuest) นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรไทย ผ่านการสืบค้นข้อมูลในเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง ผ่านกระบวนการค้นคว้าข้อมูล การวิเคราะห์ การสร้างสรรค์ และการแสวงหาความรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจ นอกจากนี้ยังสามารถส่งคำถามหรือข้อสงสัยต่างๆ ให้กับผู้สอนหรือเพื่อนในห้องเรียนผ่านเว็บไซต์เพื่อให้ได้รับคำตอบและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้อื่นได้อีกด้วย
  • ส่วนในห้องเรียนกลับด้าน Flipped Classroom นักเรียนมีโอกาสในการเรียนรู้ และศึกษาเนื้อหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสมุนไพรไทย ผ่านบทเรียนที่ได้รับการบันทึกไว้ในรูปแบบวิดิโอ และสามารถเรียนรู้จากวิดีโอนี้ได้ทุกที่ทุกเวลาตามความสะดวกของนักเรียน โดยนักเรียนได้รับการสนับสนุนจากครูผู้สอนในการแก้ไขคำถามหรือความสงสัยที่เกิดขึ้นระหว่างการศึกษา ซึ่งผสมผสานระหว่างแนวคิดบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ WebQuest และห้องเรียนกลับด้าน Flipped Classroom ทำให้นักเรียนได้มีโอกาสในการพัฒนาทักษะการคิดชั้นสูงและนวัตกรรม โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศออนไลน์ในการเรียนรู้ นักเรียนสามารถศึกษาได้ตามความสนใจของตนเอง และสามารถสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมุนไพรไทยที่น่าสนใจและแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่นได้ระหว่างกระบวนการเรียนรู้
  • ดังนั้น การพัฒนาบทเรียนออนไลน์โดยผสมผสานแนวคิดบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ WebQuest และห้องเรียนกลับด้าน Flipped Classroom เป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาสมรรถนะทักษะการคิดชั้นสูง และนวัตกรรมของนักเรียนช่วงชั้นที่ 1 ระดับชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 2 ผ่านกระบวนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 2 นักเรียนสามารถศึกษาได้ตามความสนใจของตนเอง และสามารถสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมุนไพรไทยที่น่าสนใจ และแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่นได้ในระหว่างกระบวนการเรียนรู้




1.3 การมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ จำนวน     9     ชั่วโมง/สัปดาห์

ผู้รับการประเมินมีส่วนร่วมในการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยนำปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนจากวง PLC มาช่วยให้นักเรียนมองเห็นความสำคัญของการเรียนรู้ และมีแรงจูงใจในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น จึงได้ออกแบบบทเรียนที่น่าสนใจ ใช้วิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ ทำให้นักเรียนมีโอกาสเรียนรู้อย่างมีความสุข และนำเทคโนโลยีเข้ามาในกระบวนการการเรียนรู้ เช่น การใช้โน้ตบุ๊คในการสอนควบคู่กับการฝึกปฏิบัติการในห้องดนตรีล้านนา และห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้น 1  พร้อมทั้งสร้างเนื้อหาการเรียนรู้ที่มีการนำเอาเทคโนโลยีมาใช้ในการสร้างนวัตกรทางดนตรีผ่านกิจกรรมทางกายที่แสดงออกถึงวิธีคิดสู่การปฏิบัติ พร้อมทั้งสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่สนับสนุนโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมถึงการสร้างความเข้าใจในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ตลอดจนมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินความคืบหน้าของนักเรียนในการเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือการประเมินที่เหมาะสมและให้คำแนะนำเพื่อสนับสนุนการพัฒนาของนักเรียน







1.4 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน     9     ชั่วโมง/สัปดาห์

ผู้รับการประเมินปฏิบัติหน้าที่ในฝ่ายบริหารงานทั่วไปเป็นส่วนสำคัญในการควบคุมและบริหารจัดการภาระงานของโรงเรียนตามคำสั่งและแผนงานที่โรงเรียนกำหนด

(1) งานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม (เป็นครูประจำอาคารต้นแก้ว 2 อาคาร EP ริเริ่มใช้ระบบการบันทึกการซ่อมและออกแบบเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล APPSHEET และ Google Forms) โดยการดูแลและบำรุงรักษาอาคาร สถานที่ และสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนเพื่อให้สถานศึกษาให้การศึกษาที่เหมาะสมและปลอดภัยสำหรับนักเรียนและบุคลากร นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาระบบการบันทึกการซ่อมและออกแบบเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลด้วยแอปพลิเคชัน และGoogleForms เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการ 

(2) ดูแลห้องดนตรีพื้นเมือง ชั้น 2 อาคารต้นแก้ว 3 (อาคารเอนกประสงค์) โดยการดูแลและบริหารจัดการห้องดนตรีพื้นเมืองเป็นสิ่งสำคัญในการสนับสนุนการเรียนรู้และการพัฒนาทักษะด้านดนตรีของนักเรียน 

(3) ดูแลห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในอาคารต้นแก้ว 5 อาคารประถมต้น ห้อง 5401 โดยการดูแลและบริหารจัดการห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อให้นักเรียนมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเรียนรู้และใช้งานคอมพิวเตอร์ (ระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ในห้อง 5401)

  

1.5 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน     5     ชั่วโมง/สัปดาห์

(1) ผู้รับการประเมิน นำนักเรียนเข้าร่วมงานดนตรีและการแสดงพื้นบ้านล้านนา โดยการนำนักเรียนเข้าร่วมงานดนตรีและการแสดงพื้นบ้านล้านนา ซึ่งเป็นโอกาสที่สำคัญในการสนับสนุนการพัฒนาทักษะด้านดนตรี นักเรียนได้รับโอกาสในการแสดงพร้อมกับฝึกทักษะดนตรีที่พัฒนาตัวเอง 

(2) ผู้รับการประเมิน นำนักเรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทางดนตรี โดยการนำนักเรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ทางดนตรีเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและความชำนาญในดนตรี นักเรียนมีโอกาสเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญและฝึกทักษะในสถานที่ที่แตกต่างจากโรงเรียน 

(3) ผู้รับการประเมิน จัดกิจกรรมเวทีศักยภาพทางด้านดนตรี โดยการจัดกิจกรรมเวทีทางด้านดนตรีเพื่อเปิดโอกาสในการแสดงทักษะและความสามารถทางด้านดนตรีของนักเรียน นอกจากนี้ยังเสริมสร้างความมั่นใจและประสบการณ์ในการแสดงหน้าที่สำคัญ



นักเรียนช่วงชั้น 1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 IEP
ปฏิบัติรวมวงกลองสิ้งหม้อง นำขบวนแห่เทียนพรรษาของ ช่วงชั้น 1
โดยเดินทางจากอาคารต้นแก้ว 3 (อาคารเอนกประสงค์) ไปวัดต้นแก้ว ตำบลขุนคง 







เรียนรู้สุนทรียศาสตร์ผ่านดนตรีล้านนา
ประเภท วงกลองปู่เจ่



วันเสาร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2566 ส่งนักเรียนชุมนุมกลองล้านนา ช่วงชั้น 1
เข้าร่วมประเมินสมรรถนะทางดนตรีล้านนา ประเภท วงตึ่งโนง
เพื่อหาประสบการณ์ในบรรยากาศการเรียนรู้จริง


วันเสาร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2566 ส่งนักเรียนชุมนุมกลองล้านนา ช่วงชั้น 2
เข้าร่วมประเมินสมรรถนะทางดนตรีล้านนา ประเภท วงตึ่งโนง
เพื่อหาประสบการณ์ในบรรยากาศการเรียนรู้จริง


ส่วนที่ 2 
การปฏิบัติงานและผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 

ด้านที่ 1 ด้านการจัดการเรียนการสอน 
ตัวชี้วัด 1.1   สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร

- ได้สร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชาดนตรี ศ 11101 (ด) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.1 , รายวิชาดนตรี ศ 12101 (ด) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.2 , รายวิชาดนตรี ศ 13101 (ด) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.3 , หน่วยการเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ชุมนุมกลองล้านนา) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.1 - ป.3 และหน่วยการเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ชุมนุมกลองล้านนา) ช่วงชั้น 2 ชั้น ป.4 - ป.6

- ได้จัดทำคำอธิบายหน่วยการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ศ 11101 (ด) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.1 ,ได้จัดทำคำอธิบายหน่วยการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ศ 12101 (ด) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.2 และรายวิชาดนตรี ศ 13101 (ด) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.3

คำอธิบาย หน่วยการเรียนรู้ รายวิชา ดนตรี ศ 11101 (ด) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.1 

คำอธิบาย หน่วยการเรียนรู้ รายวิชา ดนตรี ศ 11101 (ด) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.2

คำอธิบาย หน่วยการเรียนรู้ รายวิชา ดนตรี ศ 11101 (ด) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.3

- ได้ออกแบบโครงสร้างหน่วยการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.1 , ป.2 , ป.3 หน่วยการเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ชุมนุมกลองล้านนา) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.1 - ป.3 และหน่วยการเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ชุมนุมกลองล้านนา) ช่วงชั้น 2 ชั้น ป.4 - ป.6

โครงสร้าง หน่วยการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.1

โครงสร้าง หน่วยการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.2

โครงสร้าง หน่วยการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.3

        ร่องรอยหลักฐาน
    • หลักสูตรสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565
    • หลักสูตรสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566 
   

    • หน่วยการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี) ประจำปีการศึกษา 2565
      + แผนการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ดนตรี ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.1
      แผนการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ดนตรี ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.2
      + แผนการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ดนตรี ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.3

    • หน่วยการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี) ประจำปีการศึกษา 2566
      + แผนการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ดนตรี ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.1
      แผนการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ดนตรี ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.2
      + แผนการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ดนตรี ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.3
         เครื่องมือ
    • การประเมินการมีส่วนร่วมในการจัดทำและพัฒนาหลักสูตร   
ภาพแผนผังความคิดหน่วยการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี-นาฏศิลป์)
 





   
   
ภาพแผนผังความคิดหน่วยการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี-นาฏศิลป์)






ภาพแผนผังความคิดหน่วยการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี-นาฏศิลป์)





ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่เกิดขึ้นกับครูผู้สอน

  • ครูมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรดนตรีและการจัดการเรียนรู้ดนตรีเพิ่มขึ้น
  • ครูสามารถออกแบบหน่วยการเรียนรู้ดนตรีที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และความสนใจของนักเรียนได้
  • ครูสามารถจัดการเรียนการสอนดนตรีที่มีประสิทธิภาพและช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองเพิ่มขึ้น
ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน

  • นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับดนตรีและวัฒนธรรมเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนมีทักษะในการเล่นดนตรีล้านนาเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนมีทักษะในการร้องเพลงล้านนาเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนมีทักษะในการแสดงดนตรีล้านนาเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนมีทักษะในการสื่อสารและการทำงานร่วมกันเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนมีทักษะในการคิดสร้างสรรค์เพิ่มขึ้น
  • นักเรียนมีทักษะในการแก้ปัญหาเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้เพิ่มขึ้น
  • นักเรียนมีทักษะในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขเพิ่มขึ้น



ตัวชี้วัด 1.2  ออกแบบการจัดการเรียนรู้

1.2.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2565 ครูผู้สอนได้ออกแบบกำหนดการสอนหน่วยการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ศ 11101 (ด) ป.1 จำนวน 4 หน่วยการเรียนรู้ จำนวน 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน ประกอบด้วย 
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ภาษาดนตรี 1 จำนวน 1 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สุนทรียศาสตร์ไทย 1 จำนวน 1 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เทคโนโลยีและการสื่อสารทางสุนทรียศาสตร์ จำนวน 2 ชั่วโมง                      หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์เพื่อสุขภาพ 1 จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 กฎหมายลิขสิทธิ์ 1 จำนวน 1 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 พื้นฐานดนตรี 1 จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การบันทึกโน้ต 1 จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 หน้าทับดนตรี 1 จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 ประเภทเพลง 1 จำนวน 1 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เครื่องดนตรีและการประสมวงดนตรี 1 จำนวน 1 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 ขนบประเพณีของสุนทรียศาสตร์ 1 จำนวน 1 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 ปฏิบัติเครื่องเป่า 1 จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 13 การใช้แหล่งเรียนและภูมิปัญญาท้องถิ่น 1 จำนวน 1 ชั่วโมง                      หน่วยการเรียนรู้ที่ 14 นำเสนอผลงานทางสุนทรียศาสตร์ 1 จำนวน 1 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 15 ปฏิบัติเครื่องเป่า 1 จำนวน 9 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 16 ปฏิบัติขับร้องเพลง 1 จำนวน 3 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 17 ปฏิบัติหน้าทับ 1 จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 18 ปฏิบัติรวมวงดนตรี 1 จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 19 ดูแลรักษาเครื่องดนตรี 1 จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 20 การใช้แหล่งเรียนและภูมิปัญญาท้องถิ่น 1 จำนวน 2 ชั่วโมง

         ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่เกิดขึ้นกับครูผู้สอน

-   ครูสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดนตรีได้ ผ่านการใช้เว็บไซต์ที่ใช้จัดกระบวนการเรียนการสอนในภาคเรียนที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2565 โดยผ่านเกมเพื่อการเรียนรู้ทางดนตรีและโปรแกรมต่างๆ เพื่อช่วยให้นักเรียนเรียนรู้และเข้าใจดนตรีได้ดีขึ้น

ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน
(1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สามารถระบุและอธิบายองค์ประกอบของดนตรีได้เพิ่มขึ้น
(2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สามารถจำแนกประเภทของดนตรีได้เพิ่มขึ้น
(3) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สามารถร้องเพลงและเล่นเครื่องดนตรีได้เพิ่มขึ้น
(4) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สามารถสร้างสรรค์ผลงานดนตรีได้เพิ่มขึ้น
(5) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สามารถชื่นชมคุณค่าของดนตรีได้เพิ่มขึ้น
(6) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สามารถมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางดนตรีได้เพิ่มขึ้น

 1.2.2 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2/2565 ครูผู้สอนได้ออกแบบกำหนดการสอนหน่วยการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ศ 12101 ป.2 จำนวน 20 หน่วยการเรียนรู้ จำนวน 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน  ประกอบด้วย

          หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ภาษาดนตรี 2 จำนวน 1 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สุนทรียศาสตร์ไทย 2 จำนวน 1 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เทคโนโลยีและการสื่อสารทางสุนทรียศาสตร์ จำนวน 2 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์เพื่อสุขภาพ 2 จำนวน 2 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 กฎหมายลิขสิทธิ์ 2 จำนวน 1 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 พื้นฐานดนตรี 2 จำนวน 2 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การบันทึกโน้ต 2 จำนวน 2 ชั่วโมง 10 คะแนน
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 หน้าทับดนตรี 2 จำนวน 2 ชั่วโมง 10 คะแนน
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 ประเภทเพลง 2 จำนวน 1 ชั่วโมง 4 คะแนน
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เครื่องดนตรีและการประสมวงดนตรี 2 จำนวน 1 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 ขนบประเพณีของสุนทรียศาสตร์ 2 จำนวน 1 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 ปฏิบัติเครื่องเป่า 2 จำนวน 2 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 13 การใช้แหล่งเรียนและภูมิปัญญาท้องถิ่น 2 จำนวน 1 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 14 นำเสนอผลงานทางสุนทรียศาสตร์ 2 จำนวน 1 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 15 ปฏิบัติเครื่องเป่า 2 จำนวน 9 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 16 ปฏิบัติขับร้องเพลง 2 จำนวน 3 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 17 ปฏิบัติหน้าทับ 2 จำนวน 2 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 18 ปฏิบัติรวมวงดนตรี 2 จำนวน 2 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 19 ดูแลรักษาเครื่องดนตรี 2 จำนวน 2 ชั่วโมง
                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 20 การใช้แหล่งเรียนและภูมิปัญญาท้องถิ่น 2 จำนวน 2 ชั่วโมง

ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่เกิดขึ้นกับครูผู้สอน

-  ครูสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดนตรีได้ านการใช้เว็บไซต์ที่ใช้จัดกระบวนการเรียนการสอนในภาคเรียนที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2565 โดยผ่านเกมเพื่อการเรียนรู้ทางดนตรีและโปรแกรมต่างๆ เพื่อช่วยให้นักเรียนเรียนรู้และเข้าใจดนตรีได้ดีขึ้น

 

        ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน

       (1)  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สามารถระบุและอธิบายองค์ประกอบของดนตรีได้เพิ่มขึ้น             (2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สามารถจำแนกประเภทของดนตรีได้เพิ่มขึ้น
       (3) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สามารถร้องเพลงและเล่นเครื่องดนตรีได้เพิ่มขึ้น
       (4) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สามารถสร้างสรรค์ผลงานดนตรีได้เพิ่มขึ้น
       (5) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สามารถชื่นชมคุณค่าของดนตรีได้เพิ่มขึ้น
       (6) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สามารถมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางดนตรีได้เพิ่มขึ้น


1.2.3 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2/2565 ครูผู้สอนได้ออกแบบกำหนดการสอนหน่วยการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ศ 13101 จำนวน 20 หน่วยการเรียนรู้ จำนวน 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน  ประกอบด้วย
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ภาษาดนตรี 3 จำนวน 1 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สุนทรียศาสตร์ไทย 3 จำนวน 1 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เทคโนโลยีและการสื่อสารทางสุนทรียศาสตร์ จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์เพื่อสุขภาพ 3 จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 กฎหมายลิขสิทธิ์ 3 จำนวน 1 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 พื้นฐานดนตรี 3 จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การบันทึกโน้ต 3 จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 หน้าทับดนตรี 3จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 ประเภทเพลง 3 จำนวน 1 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เครื่องดนตรีและการประสมวงดนตรี 3 จำนวน 1 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 ขนบประเพณีของสุนทรียศาสตร์ 3 จำนวน 1 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 ปฏิบัติเครื่องเป่า 3 จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 13 การใช้แหล่งเรียนและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3 จำนวน 1 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 14 นำเสนอผลงานทางสุนทรียศาสตร์ 3 จำนวน 1 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 15 ปฏิบัติเครื่องเป่า 3 จำนวน 9 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 16 ปฏิบัติขับร้องเพลง 3 จำนวน 3 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 17 ปฏิบัติหน้าทับ 3 จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 18 ปฏิบัติรวมวงดนตรี 3 จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 19 ดูแลรักษาเครื่องดนตรี 3 จำนวน 2 ชั่วโมง
                    หน่วยการเรียนรู้ที่ 20 การใช้แหล่งเรียนและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3 จำนวน 2 ชั่วโมง

          ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่เกิดขึ้นกับครูผู้สอน

- ครูสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดนตรีได้ านการใช้เว็บไซต์ที่ใช้จัดกระบวนการเรียนการสอนในภาคเรียนที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2565 โดยผ่านเกมเพื่อการเรียนรู้ทางดนตรีและโปรแกรมต่างๆ เพื่อช่วยให้นักเรียนเรียนรู้และเข้าใจดนตรีได้ดีขึ้น

ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน

(1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สามารถระบุและอธิบายองค์ประกอบของดนตรีได้เพิ่มขึ้น
         (2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สามารถจำแนกประเภทของดนตรีได้เพิ่มขึ้น
         (3) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สามารถร้องเพลงและเล่นเครื่องดนตรีได้เพิ่มขึ้น
         (4) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สามารถสร้างสรรค์ผลงานดนตรีได้เพิ่มขึ้น
         (5) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สามารถชื่นชมคุณค่าของดนตรีได้เพิ่มขึ้น
         (6) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สามารถมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางดนตรีได้เพิ่มขึ้น

 

ป.1 ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2566


1.2.4 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ครูผู้สอนได้ออกแบบกำหนดการสอนหน่วยการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ศ 11101 (ด) ป.1 จำนวน 4 หน่วยการเรียนรู้ จำนวน 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน ประกอบด้วย

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พื้นฐานดนตรี 1 จำนวน 4 เรื่อง 5 ชั่วโมง 20 คะแนน

 

เรื่องที่ 1 ประวัติดนตรีล้านนา
เรื่องที่ 2 ดีด สี ตี เป่า
เรื่องที่ 3 การใช้และบำรุงรักษา
เรื่องที่ 4 ทดลองฝึกปฏิบัติดนตรีสนใจ

จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 2 ชั่วโมง 5 คะแนน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ล้านนา พาเพลิน 1 จำนวน 5 ชั่วโมง 20 คะแนน

 

เรื่องที่ 1 ดนตรีกับการเคลื่อนไหว
เรื่องที่ 2 ปรบมือตามทำนอง
เรื่องที่ 3 ท่องได้ ปฏิบัติเป็น
เรื่องที่ 4 ปฏิบัติดนตรีศึกษา

จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 2 ชั่วโมง 5 คะแนน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 คนกับเสียงกลองล้านนาในชีวิตประจำวัน 5 ชั่วโมง 10 คะแนน

 

เรื่องที่ 1 ฟังทำนอง ร้องตามจังหวะ
เรื่องที่ 2 ปรบมือตามทำนองกลองล้านนา
เรื่องที่ 3 อ่านทำนองเพลงกลองล้านนา
เรื่องที่ 4 ฝึกตีฝึกท่องทำนองกลอง

จำนวน 1 ชั่วโมง 2 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 2 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 2 คะแนน
จำนวน 2 ชั่วโมง 4 คะแนน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ปฏิบัติรวมวง 1 กลองสิ้งหม้อง 5 ชั่วโมง 20 คะแนน

 

เรื่องที่ 1 ตัวเลขกับทำนองเพลง
เรื่องที่ 2 ปรบมือตามทำนอง
เรื่องที่ 3 ตีฉาบ ฆ้อง สนุกเฮฮา
เรื่องที่ 4 ปฏิบัติรวมวงกลองสิ้งหม้อง

จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 2 ชั่วโมง 5 คะแนน


ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่เกิดขึ้นกับครูผู้สอน

- ครูมีแผนการสอนที่สนับสนุนและส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะการสื่อสาร การทำงานเป็นทีม และการเข้าใจและรับรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืนผ่านดนตรี โดยใช้เครื่องมือและวิธีการสอนที่สอดคล้องกับแนวคิด Active Learning และการสาธิต Demonstration ในห้องเรียนและสถานที่ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งคาดหวังว่านักเรียนจะพัฒนาความเป็นนวัตกรทางสุนทรียศาสตร์ผ่านดนตรีอย่างมีประสิทธิภาพและเติบโตไปในทางที่ดี
        - ครูมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ดนตรีที่ดีขึ้น
        - ครูมีความรักและ passion ในการสอนดนตรีมากขึ้น
        - ครูมีแรงจูงใจในการทำงานมากขึ้น
        - ครูมีผลงานทางวิชาการที่ดีขึ้น


ผลลัพธ์ (
Outcomes
) ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน
        - นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับดนตรีมากขึ้น
        - นักเรียนมีทักษะทางดนตรีที่ดีขึ้น
        - นักเรียนมีความสนใจในดนตรีมากขึ้น
        - นักเรียนมีทักษะทางความคิด สติปัญญา สังคม อารมณ์ ร่างกาย และดนตรีที่ดีขึ้น

ป.2 ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2566

1.2.5 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2566 ครูผู้สอนได้ออกแบบกำหนดการสอนหน่วยการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ศ 12101 (ด) ป.2 จำนวน 4 หน่วยการเรียนรู้ 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน  ประกอบด้วย

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พื้นฐานดนตรี 2 จำนวน 4 เรื่อง 5 ชั่วโมง 20 คะแนน

 

เรื่องที่ 1 ประวัติดนตรีไทย-ดนตรีล้านนาเรื่องที่ 2 ดีด สี ตี เป่า
เรื่องที่ 3 การใช้และบำรุงรักษา
เรื่องที่ 4 ทดลองฝึกปฏิบัติดนตรีสนใจ

จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 2 ชั่วโมง 5 คะแนน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ล้านนา พาเพลิน 2 จำนวน 5 ชั่วโมง 20 คะแนน

 

เรื่องที่ 1 ดนตรีกับการเคลื่อนไหว
เรื่องที่ 2 ปรบมือตามทำนอง
เรื่องที่ 3 ท่องได้ ปฏิบัติเป็น
เรื่องที่ 4 ปฏิบัติดนตรีศึกษา

จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 2 ชั่วโมง 5 คะแนน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 คนกับเสียงกลองล้านนาในชีวิตประจำวัน 5 ชั่วโมง 10 คะแนน

 

เรื่องที่ 1 ฟังทำนอง ร้องตามจังหวะ
เรื่องที่ 2 ปรบมือตามทำนองกลองล้านนา
เรื่องที่ 3 อ่านทำนองเพลงกลองล้านนา
เรื่องที่ 4 ฝึกตีฝึกท่องทำนองกลอง

จำนวน 1 ชั่วโมง 2 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 2 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 2 คะแนน
จำนวน 2 ชั่วโมง 4 คะแนน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ปฏิบัติรวมวง กลองสะบัดชัยประยุกต์ 5 ชั่วโมง 20 คะแนน

 

เรื่องที่ 1 ตัวเลขกับทำนองเพลง
เรื่องที่ 2 ปรบมือตามทำนอง
เรื่องที่ 3 ตีฉาบ ฆ้อง สนุกเฮฮา
เรื่องที่ 4 ปฏิบัติรวมวงกลองสะบัดชัย

จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 2 ชั่วโมง 5 คะแนน



 

ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่เกิดขึ้นกับครูผู้สอน

  • ครูมีกำหนดการสอนหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาดนตรี ศ 12101 (ด) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2 ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2566 โดยมีนักเรียน จำนวน 33 คน ปฏิบัติการสอนเชิงรุกที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง การสื่อสาร การรวมพลังทำงานเป็นทีม การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ และวิทยาการอย่างยั่งยืน ซึ่งในภาคเรียนนี้ ครูผู้สอนเน้นการฝึกปฏิบัติจากง่ายไปสู่ยากตามลำดับ เพื่อช่วยสนับสนุนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้วิธีการสาธิต (Demonstration) จากห้องเรียน สู่ห้องเรียนดนตรีล้านนา ร่วมกับการใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับดนตรี ผ่านเว็บไซต์ในห้องคอมพิวเตอร์ และวิธีการทดลอง (Experiment) เพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรทางสุนทรียศาสตร์ของนักเรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางดนตรีล้านนาที่เพิ่มสูงขึ้น
  • ครูมีกำหนดการสอนหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาดนตรี ศ 12101 (ด) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2566 โดยมีนักเรียน จำนวน 33 คน ปฏิบัติการสอนเชิงรุกที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง การสื่อสาร การรวมพลังทำงานเป็นทีม การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ และวิทยาการอย่างยั่งยืน ซึ่งในภาคเรียนนี้ ครูผู้สอนเน้นการฝึกปฏิบัติจากง่ายไปสู่ยากตามลำดับ เพื่อช่วยสนับสนุนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้วิธีการสาธิต (Demonstration) จากห้องเรียน สู่ห้องเรียนดนตรีล้านนา ร่วมกับการใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับดนตรี ผ่านเว็บไซต์ในห้องคอมพิวเตอร์ และวิธีการทดลอง (Experiment) เพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรทางสุนทรียศาสตร์ของนักเรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางดนตรีล้านนาที่เพิ่มสูงขึ้น
  • ครูมีกำหนดการสอนหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาดนตรี ศ 12101 (ด) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/4 ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2566 โดยมีนักเรียน จำนวน 32 คน ปฏิบัติการสอนเชิงรุกที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง การสื่อสาร การรวมพลังทำงานเป็นทีม การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ และวิทยาการอย่างยั่งยืน ซึ่งในภาคเรียนนี้ ครูผู้สอนเน้นการฝึกปฏิบัติจากง่ายไปสู่ยากตามลำดับ เพื่อช่วยสนับสนุนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้วิธีการสาธิต (Demonstration) จากห้องเรียน สู่ห้องเรียนดนตรีล้านนา ร่วมกับการใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับดนตรี ผ่านเว็บไซต์ในห้องคอมพิวเตอร์ และวิธีการทดลอง (Experiment) เพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรทางสุนทรียศาสตร์ของนักเรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางดนตรีล้านนาที่เพิ่มสูงขึ้น

 

ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน

  • นักเรียนสามารถอธิบายสรุปองค์ความรู้ ความเข้าใจ และการเข้าถึงบทเรียนเกี่ยวกับประวัติดนตรีล้านนาที่ตนเองสนใจได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถอธิบายสรุปองค์ความรู้ ความเข้าใจ และการเข้าถึงบทเรียนเกี่ยวกับเครื่องดนตรีล้านนา 4 ประเภทได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถอธิบายสรุปองค์ความรู้ ความเข้าใจ และการเข้าถึงบทเรียนเกี่ยวกับการใช้และการบำรุงรักษาเครื่องดนตรีล้านนาได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถนำเสนอผลงานทางดนตรีจากการทดลองฝึกปฏิบัติดนตรีศึกษาที่ตนเองสนใจในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถอธิบายสรุปองค์ความรู้ ความเข้าใจและการเข้าถึงบทเรียนดนตรีกับการเคลื่อนไหวที่ตนเองสนใจได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถอธิบายสรุปองค์ความรู้ ความเข้าใจและการเข้าถึงบทเรียนเกี่ยวกับขั้นตอนการปรบมือตามทำนองได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถอธิบายสรุปองค์ความรู้ ความเข้าใจและการเข้าถึงบทเรียนเกี่ยวกับการท่องทำนองเพลงและปฏิบัติเครื่องดนตรีได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถนำเสนอผลงานทางดนตรีจากการฝึกปฏิบัติดนตรีศึกษาที่ตนเองสนใจในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถฟังทำนองและร้องทำนองเพลงกลองสะบัดชัยประยุกต์ตามจังหวะได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถปรบมือตามทำนองเพลงกลองสะบัดชัยประยุกต์ได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถอ่านทำนองเพลงกลองสะบัดชัยประยุกต์ได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถนำเสนอผลงานทางดนตรีจากการฝึกตีกลองตามทำนองกลองสะบัดชัยประยุกต์ที่ตนเองสนใจได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถเดินแผนผังการเดินเท้าแบบตัวเลขตามเงื่อนไขที่กำหนดได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถฟ้อนเจิงตามจังหวะฉาบและฆ้องตามเงื่อนไขที่กำหนดได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถฟ้อนเจิงพร้อมกับการเดินเท้าตามเงื่อนไขที่กำหนดได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถฝึกปฏิบัติการรวมวงกลองสะบัดชัยประยุกต์ พร้อมนำเสนอผลงานตามทำนองที่ตนเองศึกษาได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น

ป.3 ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2566

1.2.6 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2566 ครูผู้สอนได้ออกแบบกำหนดการสอนหน่วยการเรียนรู้รายวิชาดนตรี ศ 13101 (ด) ป.3 จำนวน 4 หน่วยการเรียนรู้ 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน  ประกอบด้วย

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พื้นฐานดนตรี 3 จำนวน 4 เรื่อง 5 ชั่วโมง 20 คะแนน

 

เรื่องที่ 1 ประวัติดนตรีไทย-ดนตรีล้านนาเรื่องที่ 2 ดีด สี ตี เป่า
เรื่องที่ 3 การใช้และบำรุงรักษา
เรื่องที่ 4 ทดลองฝึกปฏิบัติดนตรีสนใจ

จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 2 ชั่วโมง 5 คะแนน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ล้านนา พาเพลิน 3 จำนวน 5 ชั่วโมง 20 คะแนน

 

เรื่องที่ 1 ดนตรีกับการเคลื่อนไหว
เรื่องที่ 2 ปรบมือตามทำนอง
เรื่องที่ 3 ท่องได้ ปฏิบัติเป็น
เรื่องที่ 4 ปฏิบัติดนตรีศึกษา

จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 2 ชั่วโมง 5 คะแนน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 คนกับเสียงกลองล้านนาในชีวิตประจำวัน 5 ชั่วโมง 10 คะแนน

 

เรื่องที่ 1 ฟังทำนอง ร้องตามจังหวะ
เรื่องที่ 2 ปรบมือตามทำนองเพลงกลองเรื่องที่ 3 อ่านทำนองเพลงกลองล้านนาเรื่องที่ 4 ฝึกตีฝึกท่องทำนองกลอง

จำนวน 1 ชั่วโมง 2 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 2 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 2 คะแนน
จำนวน 2 ชั่วโมง 4 คะแนน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ปฏิบัติรวมวง 3 กลองสะบัดชัยประยุกต์ 5 ชั่วโมง 20 คะแนน

 

เรื่องที่ 1 ตัวเลขกับทำนองเพลง
เรื่องที่ 2 ปรบมือตามทำนอง
เรื่องที่ 3 ตีฉาบ ฆ้อง สนุกเฮฮา
เรื่องที่ 4 ปฏิบัติรวมวงกลองชัยมงคล

จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 1 ชั่วโมง 5 คะแนน
จำนวน 2 ชั่วโมง 5 คะแนน

  




 

ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่เกิดขึ้นกับครูผู้สอน

  • ครูมีกำหนดการสอนหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาดนตรี ศ 13101 (ด) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/3 ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2566 โดยมีนักเรียน จำนวน 30 คน ปฏิบัติการสอนเชิงรุกที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง การสื่อสาร การรวมพลังทำงานเป็นทีม การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ และวิทยาการอย่างยั่งยืน ซึ่งในภาคเรียนนี้ ครูผู้สอนเน้นการฝึกปฏิบัติจากง่ายไปสู่ยากตามลำดับ เพื่อช่วยสนับสนุนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้วิธีการสาธิต (Demonstration) จากห้องเรียน สู่ห้องเรียนดนตรีล้านนา ร่วมกับการใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับดนตรี ผ่านเว็บไซต์ในห้องคอมพิวเตอร์ และวิธีการทดลอง (Experiment) เพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรทางสุนทรียศาสตร์ของนักเรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางดนตรีล้านนาที่เพิ่มสูงขึ้น
  • ครูมีกำหนดการสอนหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาดนตรี ศ 13101 (ด) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/4 ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2566 โดยมีนักเรียน จำนวน 32 คน ปฏิบัติการสอนเชิงรุกที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง การสื่อสาร การรวมพลังทำงานเป็นทีม การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ และวิทยาการอย่างยั่งยืน ซึ่งในภาคเรียนนี้ ครูผู้สอนเน้นการฝึกปฏิบัติจากง่ายไปสู่ยากตามลำดับ เพื่อช่วยสนับสนุนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้วิธีการสาธิต (Demonstration) จากห้องเรียน สู่ห้องเรียนดนตรีล้านนา ร่วมกับการใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับดนตรี ผ่านเว็บไซต์ในห้องคอมพิวเตอร์ และวิธีการทดลอง (Experiment) เพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรทางสุนทรียศาสตร์ของนักเรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางดนตรีล้านนาที่เพิ่มสูงขึ้น
  • ครูมีกำหนดการสอนหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาดนตรี ศ 13101 (ด) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/5 ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2566 โดยมีนักเรียน จำนวน 30 คน ปฏิบัติการสอนเชิงรุกที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง การสื่อสาร การรวมพลังทำงานเป็นทีม การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ และวิทยาการอย่างยั่งยืน ซึ่งในภาคเรียนนี้ ครูผู้สอนเน้นการฝึกปฏิบัติจากง่ายไปสู่ยากตามลำดับ เพื่อช่วยสนับสนุนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้วิธีการสาธิต (Demonstration) จากห้องเรียน สู่ห้องเรียนดนตรีล้านนา ร่วมกับการใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับดนตรี ผ่านเว็บไซต์ในห้องคอมพิวเตอร์ และวิธีการทดลอง (Experiment) เพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรทางสุนทรียศาสตร์ของนักเรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางดนตรีล้านนาที่เพิ่มสูงขึ้น

 

ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน

  • นักเรียนสามารถอธิบายสรุปองค์ความรู้ ความเข้าใจและการเข้าถึงบทเรียนเกี่ยวกับประวัติดนตรีไทยและดนตรีล้านนาได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถอธิบายสรุปองค์ความรู้ ความเข้าใจและการเข้าถึงบทเรียนเกี่ยวกับเครื่องดนตรีไทยและดนตรีล้านนา 4 ประเภทได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถอธิบายสรุปองค์ความรู้ ความเข้าใจและการเข้าถึงบทเรียนเกี่ยวกับการใช้และการบำรุงรักษาเครื่องดนตรีไทยและเครื่องดนตรีล้านนาได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถนำเสนอผลงานทางดนตรีจากการทดลองฝึกปฏิบัติดนตรีสนใจที่ตนเองและเพื่อนในกลุ่มสนใจในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถอธิบายสรุปองค์ความรู้ ความเข้าใจและการเข้าถึงบทเรียนดนตรีกับการเคลื่อนไหวที่ตนเองสนใจได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถอธิบายสรุปองค์ความรู้ ความเข้าใจและการเข้าถึงบทเรียนเกี่ยวกับขั้นตอนการปรบมือตามทำนองได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถอธิบายสรุปองค์ความรู้ ความเข้าใจและการเข้าถึงบทเรียนเกี่ยวกับการท่องทำนองเพลงและปฏิบัติเครื่องดนตรีได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถนำเสนอผลงานทางดนตรีจากการฝึกปฏิบัติดนตรีศึกษาที่ตนเองสนใจในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถฟังทำนองและร้องทำนองเพลงกลองชัยมงคลตามจังหวะได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถปรบมือตามทำนองเพลงกลองชัยมงคลได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถอ่านทำนองเพลงกลองชัยมงคลได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถนำเสนอผลงานทางดนตรีจากการฝึกตีกลองตามทำนองกลองชัยมงคลที่ตนเองสนใจได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถฟ้อนเจิงประกอบกับการตีกลองสะบัดชัยโบราณแบบตัวเลขตามเงื่อนไขที่กำหนดให้ได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถปรบมือตามทำนองเพลงกลองสะบัดชัยโบราณตามเงื่อนไขที่กำหนดให้ได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถตีฉาบและฆ้องเข้ากับจังหวะการตีกลองสะบัดชัยโบราณตามเงื่อนไขที่กำหนดให้ได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  • นักเรียนสามารถได้ฝึกปฏิบัติการรวมวงกลองสะบัดชัยโบราณ พร้อมนำเสนอผลงานตามทำนองที่ตนเองศึกษาได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น

 

    ประจำปีการศึกษา 2565
  • หลักสูตรโรงเรียนต้นแก้วผดุงพิทยาลัย
  • หน่วยการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาดนตรี ศ 11101 (ด) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้น ป.1
  • หน่วยการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาดนตรี ศ 12101 (ด) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้น ป.2
  • หน่วยการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาดนตรี ศ 13101 (ด) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้น ป.3
    หน่วยการเรียนรู้
  • ดนตรี ศ 11101 (ด) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.1
  • ดนตรี ศ 12101 (ด) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.2
  • ดนตรี ศ 13101 (ด) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.3
    เครื่องมือ
  • แบบวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้
    ประจำปีการศึกษา 2566
  • หลักสูตรโรงเรียนต้นแก้วผดุงพิทยาลัย 
  • หน่วยการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาดนตรี ศ 11101 (ด) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้น ป.1
  • หน่วยการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาดนตรี ศ 12101 (ด) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้น ป.2
  • หน่วยการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาดนตรี ศ 13101 (ด) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้น ป.3
    หน่วยการเรียนรู้
  • ดนตรี ศ 11101 (ด) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.1
  • ดนตรี ศ 12101 (ด) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.2
  • ดนตรี ศ 13101 (ด) ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.3

    เครื่องมือ
  • แบบวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้
ตัวชี้วัด 1.3  จัดกิจกรรมการเรียนรู้
ตัวชี้วัด 1.4  สร้างและหรือพัฒนาสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้
    สื่อประกอบการสอน
  • แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้
  • แบบประเมินสื่อ นวัตกรรม

ตัวชี้วัด 1.5  วัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้
  • ปี 2565 
    • แผนการจัดการเรียนรู้ 
    • เครื่องมือวัดและประเมินผล
  • ปี 2566 
    • แผนการจัดการเรียนรู้ 
    • เครื่องมือวัดและประเมินผล

ตัวชี้วัด 1.6  
ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้
  • ปี 2565 
    • แผนการจัดการเรียนรู้ 
    • สื่อประกอบการสอน
    • บันทึกหลังแผน
    • วิจัยในชั้นเรียน
  • ปี 2566
    • แผนการจัดการเรียนรู้ 
    • สื่อประกอบการสอน
    • บันทึกหลังแผน
    • วิจัยในชั้นเรียน
ตัวชี้วัด 1.7  จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน
  • ปี 2565
    • บรรยากาศห้องเรียนทางด้านกายภาพ
    • บรรยากาศห้องเรียนทางด้านจิตวิทยา
  • ปี 2566
    • บรรยากาศห้องเรียนทางด้านกายภาพ






        

       

    • บรรยากาศห้องเรียนทางด้านจิตวิทยา
      บรรยากาศห้องเรียนดนตรีล้านนามีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ช่วงชั้นที่ 1–2 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ดนตรีล้านนา สามารถช่วยให้นักเรียนผ่อนคลายลดความเครียดและวิตกกังวลได้ นอกจากนี้ยังสามารถช่วยเพิ่มสมาธิและความสามารถในการเรียนรู้ของนักเรียนได้อีกด้วย

  • ห้องเรียนดนตรีออนไลน์ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 1 อาคารต้นแก้ว 5 ชั้น 4



















ห้องปฏิบัตการทางดนตรี อาคารต้นแก้ว 3 (อาคารเอนกประสงค์) ชั้น 2



















ตัวชี้วัด 1.8  อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน
  • การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี)
    ช่วงชั้น 1 ระดับชั้น ป.1 - ป.3
  • โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริม (ตชว.1.8) 
    การฝึกอบรม
  • 22 - 23 เมษายน 2565 ผ่านการฝึกอบรม หลักสูตร "องค์กรแห่งความสุข ด้วยพลังเชิงบวก (Happy Workplace) โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับ สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  • 10 - 11 กันยายน 2565 ผ่านการฝึกอบรม โครงการพัฒนาศักยภาพและทักษะในการใช้ชีวิตวิถีใหม่ของครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับ สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


    การเป็นวิทยากร
  • 20 ตุลาคม 2565  เป็นวิทยากรด้านดนตรีพื้นบ้านล้านนา ประเภท กลองสะบัดชัย ให้กับนักเรียน โรงเรียนเทศบาลวัดหมื่นเงินกอง สำนักการศึกษา เทศบาลนครเชียงใหม่

  • 30 มีนาคม 2566 เป็นวิทยากรด้านดนตรีพื้นบ้านล้านนา ประเภท กลองสะบัดชัย ให้กับนักเรียนและคณะครูจากโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต

    การนำนักเรียนร่วมกิจกรรมด้านดนตรีและการแสดงพื้นบ้านล้านนา
  • 12 - 13 มกราคม 2566 นำนักเรียนชุมนุมกลองล้านนา ป.1 - ม.3 เข้าร่วมการแสดงดนตรีพื้นเมืองในงานมนต์เสน่ห์เชียงใหม่เมืองดอกไม้งาน 2nd Charming Chiang Mai Flower Festival 2023 ณ สวนเฉลิมพระเกียรติ 82 พรรษา (ด้านหลังศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่)

  • 6 - 11 เมษายน 2566 นำนักเรียนชุมนุมกลองล้านนา เข้าร่วมฝึกอบรมพิเศษกับชมรมคนรักดาบ หลักสูตรคนกับเจิงไทลื้อ โดยพ่อครูพรชัย ตุ้ยดง ประธานชมรมคนรักดาบเชียงใหม่ ณ โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา โดยใช้ระยะเวลา 09.00 - 17.00 น. จำนวน 48 ชั่วโมง


  • 12 เมษายน 2566 นำนักเรียนชุมนุมกลองล้านนา เข้าร่วมวาดลาย วาดเจิงมือ เจิงดาบไทลื้อ 
    พิธียอสวยไหว้สาอนุสาวรีย์สามกษัตริย์ วันมงคลเชียงใหม่ครบ 727 ปี  ณ อนุสาวรีย์สามกษัตริย์
  • 17 พฤษภาคม 2566 นำนักเรียนชุมนุมกลองล้านนา เข้าร่วมวาดลายวาดเจิงมือเจิงดาบไทลื้อ พิธีใส่ขันดอกบูชาเสาอินทขิล  ณ วัดเจดีย์หลวง
  • 8 กรกฎาคม 2566 นำเสนอผลงานการเรียนรู้สุนทรียศาสตร์ผ่านทางดนตรี 

ด้านที่ 2 ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ 4 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 2.1   จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา
  • แบบ ป.พ.5 / ป.พ.6
  • บันทึกการเยี่ยมบ้าน (ระบบดูแลช่วยเหลือฯ)
  • แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อส่งเสริมพัฒนาแก้ปัญหาในด้านสุนทรียศาสตร์ผ่านดนตรี
  • ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.3/4
  • รายวิชาดนตรี ศ 11101 (ด) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้น ป.1
  • รายวิชาดนตรี ศ 12101 (ด) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้น ป.2
  • รายวิชาดนตรี ศ 13101 (ด) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้น ป.3
  • รายวิชา Coding ว 11101 (ท) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้น ป.1
  • รายวิชา Coding ว 12101 (ท) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้น ป.2
  • รายวิชา Coding ว 13101 (ท) ช่วงชั้น 1 ระดับชั้น ป.3
ตัวชี้วัด 2.2  ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
  • รายงานการดำเนินการช่วยเหลือแก้ปัญหาผู้เรียนในด้านสุนทรียศาสตร์ผ่านทางดนตรี
  • การพัฒนาด้านการเรียนดนตรี ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.1
  • การพัฒนาด้านการเรียนดนตรี ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.2
  • การพัฒนาด้านการเรียนดนตรี ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.3
ตัวชี้วัด 2.3  ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่นๆ ของสถานศึกษา
  • คำสั่งมอบหมายงาน
  • คำสั่งของโรงเรียนต้นแก้วผดุงพิทยาลัย
  • คำสั่งมอบหมายงานฝ่ายบริหารงานทั่วไป
  • คำสั่งมอบหมายงานอาคารสถานที่
  • คำสั่งมอบหมายงานจราจรโรงเรียน
ตัวชี้วัด 2.4  ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและหรือสถานประกอบการ
  • คำสั่งมอบหมายงาน
  • โครงการโรงเรียนต้นแบบความปลอดภัยทางถนน (Tk safety road zone)
  • แบบรายงานสรุปผลการดำเนินโครงการโรงเรียนต้นแบบความปลอดภัยทางถนน
    (Tk safety road zone)

ด้านที่ 3 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 3 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด 3.1  พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษา สมรรถนะวิชาชีพครูและความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวิธีการสอน
  • เกียรติบัตร การผ่านการอบรมในการพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีทางดนตรี
  • แบบรายงานผ่านการอบรม

วันที่ 1314 ตุลาคม 2565

เรื่อง

การอบรมเชิงปฏิบัติการแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา

 

สถานที่

โรงเรียนต้นแก้วผดุงพิทยาลัย

 

หน่วยงานที่จัด

ฝ่ายวิชาการโรงเรียนต้นแก้วผดุงพิทยาลัย

 

หลักฐาน

ภาพ , เว็บไซต์


วันที่ 20 ตุลาคม 2565

เรื่อง

เป็นวิทยากรการตีกลองสะบัดชัยประยุกต์

 

สถานที่

โรงเรียนเทศบาลวัดหมื่นเงินกอง

 

หน่วยงานที่จัด

โรงเรียนเทศบาลวัดหมื่นเงินกอง

 

หลักฐาน

ภาพ , เว็บไซต์


วันที่ 12 พฤศจิกายน 2565

เรื่อง

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการจัดการเรียนรู้แนวใหม่ที่สอดรับวิสัยทัศน์และพันธกิจ

 

สถานที่

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

หน่วยงานที่จัด

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

หลักฐาน

รายงานการอบรม , เว็บไซต์


วันที่ 8-9 ธันวาคม 2565

เรื่อง

โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการว่าด้วยการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

สถานที่

โรงแรมเชียงใหม่แกรนด์วิว

 

หน่วยงานที่จัด

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

หลักฐาน

รายงานการอบรม , เว็บไซต์


วันที่ 12-13 มกราคม 2566

เรื่อง

การแสดงดนตรีพื้นเมืองงานมนต์เสน่ห์เชียงใหม่ดอกไม้งาม

 

สถานที่

สวนเฉลิมพระเกียรติ 82 พรรษา

 

หน่วยงานที่จัด

องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

 

หลักฐาน

รายงานการอบรม , เว็บไซต์


วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2566

เรื่อง

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกแนวใหม่ และการสร้างสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา

 

สถานที่

โรงแรมคุ้มภูคำ

 

หน่วยงานที่จัด

โรงเรียนต้นแก้วผดุงพิทยาลัย

 

หลักฐาน

รายงานการอบรม , เว็บไซต์


วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2566

เรื่อง

การอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัย เพื่อพัฒนาครู นักเรียน และยกระดับคุณภาพการศึกษา

 

สถานที่

โรงแรมคุ้มภูคำ

 

หน่วยงานที่จัด

โรงเรียนต้นแก้วผดุงพิทยาลัย

 

หลักฐาน

รายงานการอบรม , เว็บไซต์


วันที่ 6 – 10 เมษายน 2566

เรื่อง

การฟ้อนเจิงดาบไทลื้อ

 

สถานที่

โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา

 

หน่วยงานที่จัด

ชมรมคนรักดาบเชียงใหม่

 

หลักฐาน

ภาพ , เว็บไซต์


วันที่ 19 พฤษภาคม 2566

เรื่อง

อบรมเชิงปฏิบัติการว่าด้วยการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 (รุ่นที่ 1)

 

สถานที่

โรงเรียนต้นแก้วผดุงพิทยาลัย

 

หน่วยงานที่จัด

ฝ่ายบริหารงานบุคคล โรงเรียนต้นแก้วผดุงพิทยาลัย

 

หลักฐาน

รายงานการอบรม , เว็บไซต์


วันที่ 20 พฤษภาคม 2566

เรื่อง

การอบรมเชิงปฏิบัติการการนำเสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show​ &​ Share) การพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้แนวใหม่ที่สอดรับวิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงเรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

 

สถานที่

ห้องประชุม 40 ปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

หน่วยงานที่จัด

องค์การบริหารส่วนจังหวัดชียงใหม่

 

หลักฐาน

รายงานการอบรม , เว็บไซต์


วันที่ 15 มิถุนายน 2566

เรื่อง

โครงการอบรมหลักสูตร ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการลงโทษทางวินัย การให้ออกจากราชการ การอุทรณ์และการร้องทุกข์และแนวทางการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการ ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

 

สถานที่

โรงแรมเชียงใหม่ออคิด

 

หน่วยงานที่จัด

สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่

 

หลักฐาน

รายงานการอบรม , เว็บไซต์


วันที่ 17 กันยายน 2566

เรื่อง

การรายงานแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2566 และการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2567

 

สถานที่

โรงแรมกัสซัน พาโนราม่า กอล์ฟคลับ ตำบลบ้านธิ อำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน

 

หน่วยงานที่จัด

ฝ่ายบริหารงานบุคคล โรงเรียนต้นแก้วผดุงพิทยาลัย

 

หลักฐาน

รายงานการอบรม , เว็บไซต์


ตัวชี้วัด 3.2  มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
  • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC ทางดนตรี เพื่อนำมาแก้ไขปัญหาในการพัฒนาผู้เรียน
  • หลักสูตรสถานศึกษา
  • เอกสารประกอบหลักสูตร
  • แผนการจัดการเรียนรู้ 
  • เทคนิคการสอนที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
  • วิธีการ
  • สื่อ
  • การวัดผลและประเมินผล
  • งานวิจัยในชั้นเรียน
  • แบบรายงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC
ตัวชี้วัด 3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
  • นำความรู้ที่ได้จาก ทีม PLC มาแก้ไขกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน 
  • พัฒนาเว็บไซต์เพื่อการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียน 24 ชั่วโมง
  • รายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
  • แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

เอกสารประกอบการพิจราณา
  • คำสั่งแต่งตั้งข้าราชการครูองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่




  • คำสั่งโรงเรียนต้นแก้วผดุงพิทยาลัย ที่ 063/2566
    เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการเยี่ยมบ้านนักเรียนออนไลน์ ประจำภาคเรียนที่ 1/2566
 


  • คำสั่งโรงเรียนต้นแก้วผดุงพิทยาลัย ที่ 065/2566
    เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานกิจกรรมไหว้ครู ประจำปีการศึกษา 2566




คลิปบรรยากาศพิธีไหว้ครู 
ประจำปีการศึกษา 2566



  • รายงานผลการอบรม วันที่ 12 พฤศจิกายน 2565



  • รายงานผลการอบรม วันที่ 12 พฤศจิกายน 2565
 












  • รายงานผลการอบรม วันที่ 20 พฤษภาคม 2566