กิจกรรมอบรมปฏิบัติการ : การสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลสมรรถนะ
{fullWidth}
วันจันทร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2566
ห้องประชุมฟ้าขาว โรงเรียนต้นแก้วผดุงพิทยาลัย สังกัด
องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่
ผอ.มานิต ถาอ้าย
เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมิน
ต้องใช้ได้จริง ใน 6 สมรรถนะ
สมรรถนะนี้ดูได้ช่วงไหน
เช่น ประเมินในห้องเรียนอะไรบ้าง
ถ้าประเมินนอกห้องเรียนได้ด้วยเครื่องมืออะไร
แต่ละพฤติกรรมใช้อะไรวัด
วัดตรงไหน
ก่อน ระหว่าง หลัง การทำกิจกรรม
กำหนดวัตถุประสงค์ในการประเมิน
ช่วงระยะเวลาที่ประเมิน
เครื่องมือที่ใช้ประเมิน
ใครเป็นคนใช้เครื่องมือนี้
ครูประจำชั้น นักเรียน เพื่อน ผู้ปกครอง
ความถี่ของการประเมินเพื่อเป็นการพัฒนา
ช่วงเดือนมีนาคม 2567
คณะกรรมการจะออกมาตรวจสอบ
ผลงานวิชาการ
ด้านดนตรี ช่วงชั้น 1 ระดับ ชั้น ป.1-ป.3
บรรยายโดย
รอง ผอ.ไก่
กำหนดการสอนหน่วยบูรณาการ
ระบบทีมช่วงชั้น 1
โดย ศึกษานิเทศก์
1.การเขียน Road map
สมรรถนะหลักประเมินในห้องเรียน
สมรรถนะรองประเมินนอกเวลา อย่างไร
หยิบแผนหน้าเดียว มา 1 แผน มาทำ PLC 1 ชั่วโมง
โดยใช้วิธีการสอนแบบสาธิต
นักเรียนเข้าใจ......เพิ่มขึ้น/ลดลงจากเดิม
นักเรียน..เปรียบเทียบได้เพิ่มขึ้น/ลดลงจากเดิม
ด้านเจตคติ
นักเรียน.
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
ขั้นที่ 2 ขั้นปฏิบัติการ ทดลองปฏิบัติ
ขั้นที่ 3 ย้อนทวน (สำคัญมาก)
ครูจะใช้เครื่องมือไหน ประเมินอยางไร
K s a คือ สมรรถนะ
การประเมินอย่างไร
สังเกตจากการประเมินที่ใช้ได้จริง
ระบุพื้นที่ เขตรับผิดชอบ
การประเมิน 2 กิจกรรม
ในห้องเรียน
นอกห้องเรียน
นักเรียนสามารถปฏิบัติตนตาม...
โดยใช้ขั้นตอนอะไร...
ต้องสำคัญกับช่วงวัย
ให้ระบุพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในห้องเรียน โรงเรียน
ชุมชน จังหวัดประเทศ ระดับโลก
กรณีตัวอย่างทึ่เกิดขึ้นที่โรงเรียน
ประเพณียี่เป็ง ต้นกล้วยทำเป็นปุ๋ย ไม่ใช่มีขยะ 15 ถุง
สมรรถนะการประเมินพฤติกรรม
จากเรื่องใกล้ตัวสู่การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองให้เหมาะสมกับสถานการณ์
โดยประเมินพฤติกรรมเมื่อใด ด้วยเครื่องมือใด
สรุปผล
อาจะใช้เครื่องมือโดยครูประจำชั้น
เรื่อง
การรับประทานอาหาร ตอนกลางวัน
การใช้ห้องน้ำในอาคารเรียน
การใช้ห้องน้ำนอกอาคารเรียน
เราได้ทำเครื่องมือใน ว.PA
ใช้เทคโนโลยีโปรแกรมนี้อยู่ในระดับใด
ทดลองใช้กับหน่วยกับใคร หรือใช้ได้กับ
ครูประจำชั้น และ ครูผู้สอน
สมรรถนะที่ 6
เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
การนำเสนอของตัวแทนแต่ละสมรรถนะ
ประถมศึกษา ประเมินปลายปี
80 : 20
ระดับการพัฒนา จากตารางที่ 6
ระดับสมรรถนะการอยู่ร่วมกับะรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืน
ระดับการพัฒนา
สมรรถนะที่ 6 ช่วงชั้น 1 ชั้น ป.1-ป.3
เริ่มต้น 1
ช่างสงสัย มีจินตนาการ สังเกต ซักถาม เก็บรวบรวมข้อมูลอย่าง กระตือรือร้น
บอกข้อเท็จจริง ลงความเห็น จากการสังเกต จำแนก ความแตกต่าง ของข้อมูล
นำเสนอข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม และอธิบาย
สถานการณ์เหมาะสมที่เกี่ยวข้องกับตนเองและสิ่งรอบตัว ทำกิจกรรม กิจวัตรต่าง ๆ
และแก้ปัญหา โดยใช้ความรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และการนำเทคโนโลยี
มาใช้อย่างปลอดภัยและเหมาะสม มีส่วนร่วมในการ
ดูแลสิ่งแวดล้อมรอบตัว
ใช้สิ่งของอย่างประหยัด
กำลังพัฒนา 2
ช่างสงสัย กระตือรือร้นในการตั้งคำถามและรวบรวมข้อมูลโดยใช้
เครื่องมืออย่างง่าย อ่านข้อมูลและลงข้อสรุปเพื่ออธิบายสาเหตุของสถานการณ์
ใกล้ตัวจากความสัมพันธ์ของหลักฐานที่รวบรวมได้ แก้ปัญหาจากสถานการณ์
ใกล้ตัวจากความสัมพันธ์ของหลักฐานที่รวบรวมได้แก้ไขปัญหาจากสถานการณ์ใกล้ตัวหรือสิ่งแวดล้อมโดยใช้ความรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และ/หรือ เทคโนโลยี ใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย และเหมาะสม
มีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนต้นแก้วผดุงพิทยาลัยหรือชุมชน
ใช้สิ่งของอย่างใส่ใจและรู้คุณค่า
สามารถ 3
กระตือรือร้นและมีฉันทะในการใฝ่หาความรู้ ตั้งคำถามที่นำไปสู่การหา
คำตอบและรวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมืออย่างง่าย เลือกรูปแบบ การนำเสนอ
วิเคราะห์ และประเมินความน่าเชื่อถือของข้อสรุป อธิบาย สาเหตุของปรากฏการณ์
จากหลักฐานที่รวบรวมได้และเชื่อมโยงผลที่มีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
ออกแบบแนวทางและลงมือแก้ปัญหา จากสถานการณ์ใกล้ตัวหรือสิ่งแวดล้อม
โดยใช้ความรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ/หรือเทคโนโลยี ใช้เทคโนโลยี
อย่างปลอดภัยและ เหมาะสม ใส่ใจ ดูแลสิ่งแวดล้อมในบริเวณบ้าน โรงเรียน หรือ
ชุมชน ของตนเอง ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า